รายงาน
เรื่อง ..การบีบอัดขยะทางเทคโนโลยี..

จัดทำโดย
ด.ช.สุดเขตต์
แก้วชุน
ชั้น ม.๒/๓ เลขที่ ๑
ด.ช.จิระพล เครื่อเต ชั้น ม.๒/๓ เลขที่ ๑O
เสนอ
คุณครู ธีระพล คงมีผล
โรงเรียนเทศบาล ๓ วัดชัยชนะสงคราม
ที่
|
แนวทางการแก้ปัญหา
|
ทรัพยากรทางเทคโนโลยีน
|
||||||
คน
|
ข้อและสารสนเทศ
|
วัสดุ
|
เครื่องมือ และอุปกรณ์
|
พลังงาน
|
ทุน
|
เวลา
|
||
1
|
บีบอัดขยะโดยหลักการของคาน
|
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะ
|
ใช้ข้อมูลด้านคาน
|
ใช้วัสดุที่แข็งแรง
|
ใช้เครื่องมือ ช่างพื้นฐาน
|
ใช้แรงคนในการบีบอัด
|
ใช้ทุนในการจัดซื้อวัสดุที่ใช้ทำโครงสร้างของคาน
|
กระบวนการสร้างไม่ซับซอนจึงใช้เวลาน้อย
|
2
|
บีบอัดขยะ
ด้วยกลไก
scissors
|
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้าน
กลไก
scissors
และเซ็นเซอร์
|
ใช้ข้อมูลด้าน
กลไก
scissors
และเซ็นเซอร์
|
ใช้วันสดุที่แข็งแรงไม่เป็นสนิมในการทำกลไก
|
ใช้เครื่องมือ ช่างพื้นฐาน
โซลาร์และเซ็นเซอร์
|
ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ที่แปลงเป็น
ฟลังงานไฟฟ้าในการบีบอัด
|
ใช้ทุนในการจัดซื้อ
โซลาร์เซลล์และเซ็นเซอร์
แผงวงจร
ควบคุม
|
กระบวนการสร้างไม่ซับซอนจึงใช้เวลาน้อย
|
3
|
บีบอักขยะโดยใช้ระบบ ไฮดรอลิ
|
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะมาก เช่น กลศาสตร์ไฟฟ้า
|
ใช้ข้อมูลด้านกลศาสตร์ไฟฟ้า
|
ใช้วันสดุที่แข็งแรงไม่เป็นสนิมทำแผ่นบีบอัด
|
ใช้เครืองมือช่างและระบบไฮดราลิก
|
ใช้พลังงานไฟฟ้า
|
จัดซื้อระบบไฮดราลิก
|
กระบวนการสร้างซับซ้อนจึงใช้เวลามาก
|
ที่
|
แนวทางการแก้ปัญหา
|
ทรัพยากรทางเทคโนโลยีน
|
|||||||
คน
|
ข้อและสารสนเทศ
|
วัสดุ
|
เครื่องมือ และอุปกรณ์
|
พลังงาน
|
ทุน
|
เวลา
|
|||
1
|
บีบอักขยะโดยใช้ระบบ ไฮดรอลิ
|
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะมาก เช่น กลศาสตร์ไฟฟ้า
|
ใช้ข้อมูลด้านกลศาสตร์ไฟฟ้า
|
ใช้วันสดุที่แข็งแรงไม่เป็นสนิมทำแผ่นบีบอัด
|
ใช้เครืองมือช่างและระบบไฮดราลิก
|
ใช้พลังงานไฟฟ้า
|
จัดซื้อระบบไฮดราลิก
|
กระบวนการสร้างซับซ้อนจึงใช้เวลามาก
|
|
2
|
บีบอัดขยะโดยหลักการของคาน
|
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะ
|
ใช้ข้อมูลด้านคาน
|
ใช้วัสดุที่แข็งแรง
|
ใช้เครื่องมือ
ช่างพื้นฐาน
|
ใช้แรงคนในการบีบอัด
|
ใช้ทุนในการจัดซื้อวัสดุที่ใช้ทำโครงสร้างของคาน
|
กระบวนการสร้างไม่ซับซอนจึงใช้เวลาน้อย
|
|
3
|
บีบอัดขยะ
ด้วยกลไก
scissors
|
ใช้ผู้ที่มีความรู้และทักษะด้าน
กลไก scissors
และเซ็นเซอร์
|
ใช้ข้อมูลด้าน
กลไก scissors
และเซ็นเซอร์
|
ใช้วันสดุที่แข็งแรงไม่เป็นสนิมในการทำกลไก
|
ใช้เครื่องมือ
ช่างพื้นฐาน
โซลาร์และเซ็นเซอร์
|
ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ที่แปลงเป็น
ฟลังงานไฟฟ้าในการบีบอัด
|
ใช้ทุนในการจัดซื้อ
โซลาร์เซลล์และเซ็นเซอร์
แผงวงจร
ควบคุม
|
กระบวนการสร้างไม่ซับซอนจึงใช้เวลาน้อย
|
ถังขยะอัจฉริยะเดินทางไปแล้วหลายที่ทั้งในมหาวิทยาลัย เมืองต่างๆ ทั่วอังกฤษ ล่าสุดที่เมอร์ตันทางตะวันตกเฉียงใต้ของลอนดอน ก็ทดลองนำ Big Belly จำนวน 30 ใบ มาใช้ด้วยกันเหมือนในระยะเวลา 1 ปี แม้ราคาค่าเช่าจะสูงถึงปีละ 47,000 บาทต่อใบ แต่ทางเมืองก็คิดแล้วว่าคุ้มค่ากว่าการจ้างพนักงานเก็บขยะและค่าน้ำมันของรถเก็บขยะที่ต้องออกวันละหลายรอบ ลดเที่ยวการจัดเก็บได้ 86% หรือลดต้นทุนได้ราวๆ 7 แสนกว่าบาท ที่สำคัญยังทำงานสื่อสารผ่านสมาร์ทโฟน เมื่อขยะมีปริมาณเกือบเต็มถึง ราวๆ 85% มันก็จะส่งสัญญาณแจ้งเตือนมาที่เจ้าหน้าที่ หรือหากเจ้าหน้าที่จะมอนิเตอร์มันตลอดเวลาก็ทำได้อีกต่างหาก
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น